ค้นหาบล็อกนี้

วันศุกร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

แร่รัตนชาติ

          แร่รัตนชาติ
แร่รัตนชาติหรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อัญมณี โดยมากมีกำเนิดจากอนินทรีย์วัตถุต่าง ๆ และมีบางอย่างก็เกิดจากอินทรีย์วัตถุ เช่น ไข่มุก อำพัน ปะการัง สมบัติสำคัญที่ใช้จำแนกรัตนชาติ และพิสูจน์ว่าเป็นรัตนชาติชนิดใดนอกจากจะอาศัยสีสัน รูปลักษณะของผลึกที่เกิดตามธรรมชาติ ยังมีเกณฑ์ทางวิทยาศาตร์ที่จะบอกได้แน่นอน คือ ความแข็ง ความถ่วงจำเพาะ และค่าดัชนีหักเห
ตาราง การเปรียบเทียบอันดับความแข็งของโมห์สกับความแข็งเปรียบเทียบกับทัลค์
ชื่อแร่
อันดับความแข็ง
ลักษณะความแข็ง
ความแข็งเปรียบเทียบกับทัลค์
ทัลค์
ยิปซัม
แคลไซด์
ฟลูออไรด์
อะปาไตต์
ออโธเคลส
ควอร์ตซ์
โทแปซ
คอรันดัม
เพชร
12
3 (ไข่มุก)
4
5
6
7 ( หยก พลอย)
8 (บุษราคัม)
9 (ทับทิม ไพลิน)
10
อ่อนลื่นมือเล็บขูดเข้าเล็บขูดเข้าแต่ผิวไม่ลื่น
สตางค์แดงขูดเป็นรอย
มีดหรือตะไบ ขูดเป็นรอย
กระจกขีดเป็นรอยบนผิวแร่
แร่ขีดกระจกจะเป็นรอยบนกระจก
ขีดกระจกเป็นรอยได้โดยง่าย
ขีดแร่ที่แข็ง 1 - 7 ให้เป็นรอยได้
11.3
2
25
41
833
1333
5067
46667
466667
 
 
 
 
ตาราง สมบัติบางประการของรัตนชาติชนิดต่าง ๆ
ชื่อรัตนชาติ
สีที่มองเห็น
ความแข็ง
ความถ่วงจำเพาะ
ค่าดัชนีหักเหของแสง


เพชร
ทับทิม
ไพลิน
บุษราคัม
เพทาย
มรกต
โกเมน
ไพฑูรย์
หยก
พลอยสีม่วง
ไข่มุก
ขาว, ขาวอมเขียวฟ้า, ชมพู เหลือง, เขียวฟ้า, น้ำตาล
แดง, ชมพูอ่อน
น้ำเงิน, เขียวเข้ม
ขาว, เหลือง, แดง, ชมพู
เขียว, ส้ม, เหลือง, น้ำตาล, ฟ้าเข้ม, ขาว
เขียว
แดงคล้ำ
ขาว, น้ำตาล
เขียว, ขาว, ส้ม, แดง
ม่วงดอกตะแบก
ขาว, ดำ, เหลือง, เทา, ชมพู
10
9
8 - 9
7
7 - 8
7
7
6 - 7
7
3 - 4
3.52
4.38
3.53
4.2 - 4.9
2.68 - 2.80
3.7 - 3.8
2.65
3.44
2.65 - 2.66
1.5 - 2.86
2.41
1.76 - 1.77
1.61 - 1.62
1.93 - 1.98
1.57 - 1.58
1.79
1.54 - 1.55
1.66 - 1.68
1.54 - 1.53
-
- แร่รัตนชนติพวกคอรันดัม ปกติจะมีสีขาว ถ้าประกอบด้วยอะลูมิเนียมออกไซด์บริสุทธิ์ แต่ถ้ามีมลทิน เช่น .. มีธาตุโครมเมียม ผสมอยู่จะทำให้คอรันดัมเป็นสีแดง (ทับทิม) มีธาตุเหล็กและติเตเนียม ผสมอยู่จะทำให้เป็นสีน้ำเงิน (ไพลิน)

รูป ลักษณะผลึกของเพชร
เหมืองเพชร


VDO  " กว่าจะเป็นเพชร  จากเหมืองสู่ตลาด"
  The Diamond process from the Mine to the Market

VDO  "การเจียรนัยเพชร"
 How diamonds are cut

แถม  VDO  "เรื่องของทอง"
Gold - How its made
 

1 ความคิดเห็น: